6 ข้อเท็จจริงที่คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อน
หลายๆ คนยังมีความเชื่อที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัส ลองคลิกที่รูปเพื่อดูว่าโรคนี้มีอะไรที่คุณควรให้ความสนใจบ้าง
หากคุณอายุ 65 ปีที่มีสุขภาพแข็งแรงก็ยังเสี่ยงต่อโรคปอดอักเสบจากนิวโมคอคคัสนะ1
หากคุณเป็นผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองให้มีสุขภาพแข็ง แรง ไม่
มีโรคประจำตัว คุณจะไม่เสี่ยง
หากคุณเป็นผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองให้มีสุขภาพแข็งแรง ไม่
มีโรคประจำตัว คุณจะไม่เสี่ยง
หากคุณเป็นผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองให้มีสุขภาพแข็งแรง
ไม่มีโรคประจำตัว คุณจะไม่เสี่ยง
อายุเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคปอดอักเสบ
ยิ่งอายุมาก
ยิ่งเสี่ยง โดยผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป
มีโอกาสเป็นปอดอักเสบ
สูงถึง 4.8 เท่า
เมื่อเทียบกับวัยทำงาน (อายุ 18-49 ปี)1
ซึ่งวัคซีนปอดอักเสบเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำคัญ
ในการป้องกันที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ2
เชื้อนิวโมคอคคัสเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดปอดอักเสบในผู้ใหญ่3และมีโอกาสติดเชื้อในกระแสเลือด4
เชื้อนิวโมคอคคัสเป็นเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคปอดอักเสบและติดเชื้อในกระแสเลือดในเด็กเท่านั้น
ทั้งเด็กเล็ก5 ผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัว จัดเป็นกลุ่มเสี่ยง
ต่อโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสทั้งนั้น6
และพบว่า 1 ใน 5
ของผู้สูงอายุที่เป็นปอดอักเสบจาก
เชื้อนิวโมคอคคัสมีการติดเชื้อ
ในกระแสเลือดร่วมด้วย4
จึงไม่แปลกใจเลยที่เชื้อนิวโมคอคคัสเป็น
สาเหตุสำคัญ
ที่ทำให้ผู้สูงอายุเสียชีวิตทั่วโลก4
โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสไม่เหมือนไข้หวัดทั่วไป
หากติดเชื้อนิวโมคอคคัส เราก็แค่รักษาตนเองอยู่ที่บ้าน
เหมือนไข้หวัดทั่วไป พักผ่อนเยอะๆ 2-3 วันก็หาย
โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัส อาจไม่สามารถ
รักษาด้วย
ตนเองที่บ้านเหมือนไข้หวัดทั่วไปได้
เป็นโรคที่มีความรุนแรง จำ
เป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะ
บางรายมีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด4 ผู้
ป่วยมักต้อง
นอนรักษาตัวในโรงพยาบาลนานเป็นสัปดาห์
อาจ
ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือนอนในห้อง ICU7
โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัส อาจไม่สามารถ
รักษาด้วย
ตนเองที่บ้านเหมือนไข้หวัดทั่วไปได้
เป็นโรคที่มีความรุนแรง
จำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะ
บางรายมีภาวะติดเชื้อในกระแส
เลือด4 ผู้ป่วยมักต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลนานเป็น
สัปดาห์ อาจต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือนอนในห้อง ICU7
โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัส อาจไม่สามารถ
รักษาด้วย
ตนเองที่บ้านเหมือนไข้หวัดทั่วไปได้
เป็นโรคที่มีความรุนแรง จำ
เป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะ
บางรายมีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด4 ผู้
ป่วยมักต้อง
นอนรักษาตัวในโรงพยาบาลนานเป็นสัปดาห์
อาจ
ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือนอนในห้อง ICU7
เชื้อนิวโมคอคคัสอาจอาศัยอยู่ใน
โพรงจมูกและลำคอของเราอยู่แล้ว
โดยที่เราไม่รู้ตัว8
เชื้อนิวโมคอคคัส เหมือนเชื้อโรคทางเดินหายใจทั่วไป
เราจะเป็น
โรคได้ผ่านการสัมผัสละอองการไอและจาม
ของผู้ป่วยเท่านั้น
มากถึง 30% ของผู้ใหญ่ที่สุขภาพดี มีเชื้อนิวโมคอคคัส
อาศัยอยู่ในโพรงจมูกและลำคออยู่แล้วโดยที่ไม่ได้
ก่อโรค8 แต่เมื่อใดก็ตามที่ร่างกายอ่อนแอ หรือมีการ
ติดเชื้อไวรัส
เชื้อนิวโมคอคคัสก็จะสามารถลุกลาม
ไปส่วนต่างๆ ของร่าง
กาย ทำให้เกิดปอดอักเสบ
ติดเชื้อในกระแสเลือด หรือเยื่อหุ้ม
สมองอักเสบได้9
ซึ่งการฉีดวัคซีนปอดอักเสบชนิดคอนจูเกต
จะช่วย
ลดปริมาณเชื้อนิวโมคอคคัสในจมูกและลำคอลงได้10
มากถึง 30% ของผู้ใหญ่ที่สุขภาพดี มีเชื้อนิวโมคอคคัส
อาศัยอยู่ในโพรงจมูกและลำคออยู่แล้วโดยที่ไม่ได้
ก่อโรค8
แต่เมื่อใดก็ตามที่ร่างกายอ่อนแอ หรือมีการ
ติดเชื้อไวรัส
เชื้อนิวโมคอคคัสก็จะสามารถลุกลาม
ไปส่วนต่างๆ ของ
ร่างกาย ทำให้เกิดปอดอักเสบ
ติดเชื้อในกระแสเลือด หรือเยื่อหุ้ม
สมองอักเสบได้9
ซึ่งการฉีดวัคซีนปอดอักเสบชนิดคอนจูเกต
จะช่วย
ลดปริมาณเชื้อนิวโมคอคคัสในจมูกและลำคอลงได้10
มากถึง 30% ของผู้ใหญ่ที่สุขภาพดี มีเชื้อนิวโมคอคคัส
อาศัยอยู่ในโพรงจมูกและลำคออยู่แล้วโดยที่ไม่ได้
ก่อโรค8 แต่เมื่อใดก็ตามที่ร่างกายอ่อนแอ หรือมีการ
ติดเชื้อไวรัส
เชื้อนิวโมคอคคัสก็จะสามารถลุกลาม
ไปส่วนต่างๆ ของร่าง
กาย ทำให้เกิดปอดอักเสบ
ติดเชื้อในกระแสเลือด หรือเยื่อหุ้ม
สมองอักเสบได้9
ซึ่งการฉีดวัคซีนปอดอักเสบชนิดคอนจูเกต
จะช่วย
ลดปริมาณเชื้อนิวโมคอคคัสในจมูกและลำคอลงได้10
COVID-19 อาจทำให้เกิดปอดอักเสบและ
เสียชีวิต เชื้อนิวโมคอคคัสก็เช่นกัน11, 12
นอกจากนี้เชื้อนิวโมคอคคัสยังสามารถ
ติดเชื้อร่วมกับ COVID-19
และไข้หวัดใหญ่ได้ด้วย13, 14
โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสมีอาการไม่รุนแรง
พบไม่บ่อย ไม่สามารถทำให้เสียชีวิตได้
โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัส
พบบ่อยในเด็กเล็ก5
ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัว6
เป็นโรคที่รุนแรง จำเป็นต้องได้
รับการรักษาตัว
ในโรงพยาบาลโดยเฉลี่ย 12 วัน ผู้ป่วยบางราย
อาจต้อง
ใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือพักฟื้นในห้อง ICU
มากถึง
10 วัน7 เป็นโรคที่มีอัตราการเสียชีวิตสูงถึง 23%
หากมีการ
ติดเชื้อในกระแสเลือดร่วมด้วย9
เชื้อนิวโมคอคคัสมีโอกาสติด
เชื้อร่วมกับเชื้อไวรัส
อย่าง COVID-19 และไข้หวัดใหญ่ได้
ทำให้ผู้ป่วย
มีอาการรุนแรง และอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น13, 14, 16
วัคซีนปอดอักเสบ บางคนเรียกวัคซีนป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด
หรือวัคซีน IPD
วัคซีนปอดอักเสบ บางคนเรียกวัคซีน ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด หรือวัคซีน IPD
วัคซีนปอดอักเสบ บางคนเรียกวัคซีน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด
หรือวัคซีน IPD
วัคซีนปอดอักเสบสามารถป้องกันโรคปอดอักเสบจากเชื้อโรคทุกชนิด
วัคซีนปอดอักเสบ หรือเป็นที่รู้จักในนาม วัคซีนป้องกัน
การติดเชื้อในกระแสเลือด หรือบางคนอาจเรียกวัคซีน
IPD
ซึ่งย่อมาจาก Invasive Pneumococcal Disease
ซึ่งหมายถึง
การติดเชื้อนิวโมคอคคัสชนิดลุกลาม
วัคซีนปอดอักเสบ
สามารถป้องกันการติดเชื้อ
นิวโมคอคคัสตามสายพันธุ์
ที่อยู่ในวัคซีนเท่านั้น
Reference
1. Shea KM et al. Open Forum Infectious Disease. 2014;1(1):1-9. 2. WHO(European Region).
Guidance on routine immunization services during
COVID-19 pandemic in the WHO European
Region, 2020.
3. Elena P et al. Lancet. 2015; 386: 1097-108. 4. Ruiz LA et al. J Gerontol A Biol Sci
Med
Sci. 2014; 69(8):1018–1024. 5. WHO. Pneumonia. Accessed 30 November 2021. https://
www.who.int/news-
room/fact-sheets/detail/pneumonia 6.
CDC.Pneumococcal Disease. Accessed
30 November 2021. https://www.cdc.gov/pneumococcal/about/risk-transmission.html
7. Ostermann H, et
al. BMC Pulm
Med. 2014;14:36 8. Rudd JM et al. J Infect Pulm Dis. 2016;2(2)
9. Weiser JN et al. Nat Rev Microbiol. 2018;16(6):355-367 10. ตำรา
วัคซีนและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี
2562. กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรม
ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 11. WHO. Coronavirus disease
(COVID-19).
2020. Accessed 30 November 2021. https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-
coronavirus-2019/question-and-
answers-hub/q-a-detail/
coronavirus-disease-covid-19 12. CDC.
Pneumococcal Disease. Accessed 30 November 2021. https://www.cdc.gov/pneumococcal/about/
symptoms-complications.html 13.
Zhu X, et al. Virus Res. 2020;285:198005 14. Klein et al. Influenza
and Other Respiratory Viruses. 2016; 10(5):
394–403. 15. Rhodes J et al. PLoS One 2013;8(6):e66038
16. Chowdhury ZA et al. Clin Infect Dis. 2021;72(5):e65-e75.