รู้ก่อน...

ป้องกันได้

โปรดปรึกษาแพทย์เพิ่มเติม

left-virusright-virus

คุณสามารถป้องกันตัวเองอย่างง่ายๆ ได้ด้วยวิธีดังนี้

what-save-icon_1

ล้างมือ
ให้สะอาด

what-save-icon_2

สวมหน้ากาก
อนามัย

what-save-icon_3

หลีกเลี่ยง
สถานที่แออัด

หลีกเลี่ยง
สถานที่แออัด

หลีกเลี่ยง
สถานที่แออัด

การฉีดวัคซีนสามารถช่วยป้องกันคุณ
จากโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสได้

การฉีดวัคซีนสามารถช่วยป้องกันคุณ
จากโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสได้

การฉีดวัคซีนสามารถช่วยป้องกันคุณจากโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสได้

inject
large-small-bean-leftlarge-small-bean-right

วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ
จากเชื้อนิวโมคอคคัส มี 2 ชนิด

syringe

1

วัคซีนปอดอักเสบ

ชนิดคอนจูเกต

(Conjugate, PCV)

เป็นวัคซีนที่รวม Antigen เข้ากับโมเลกุลของโปรตีนเพื่อเพิ่มความสามารถในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้สูง3 และอยู่ได้นาน2 สามารถป้องกันโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสชนิดลุกลามและไม่ลุกลามได้ดี4, 5 เป็นวัคซีนที่แนะนำให้ใช้ในเด็กทารกอายุ 6 สัปดาห์เป็นต้นไป7, ผู้ที่มีโรค ประจำตัว, และผู้สูงอายุ6

เป็นวัคซีนที่รวม Antigen เข้ากับโมเลกุล
ของโปรตีน2 เพื่อเพิ่มความสามารถในการกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันได้สูง3 และอยู่ได้นาน2 สามารถป้องกัน
โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสชนิดลุกลามและไม่ลุกลามได้ดี4, 5 เป็นวัคซีนที่แนะนำให้ใช้
ในเด็กทารกอายุ 6 สัปดาห์เป็นต้นไป7
ผู้ที่มีโรคประจำตัว, และผู้สูงอายุ6

1

วัคซีนปอดอักเสบชนิดคอนจูเกต

 

(Conjugate, PCV)

วัคซีนปอดอักเสบ

ชนิดคอนจูเกต

(Conjugate, PCV)

วัคซีนปอดอักเสบ

ชนิดคอนจูเกต

(Conjugate, PCV)

เป็นวัคซีนที่รวม Antigen เข้ากับโมเลกุล
ของโปรตีน2 เพื่อเพิ่มความสามารถในการกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันได้สูง3 และอยู่ได้นาน2 สามารถป้องกัน
โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสชนิดลุกลามและไม่ลุกลามได้ดี4, 5 เป็นวัคซีนที่แนะนำให้ใช้
ในเด็กทารกอายุ 6 สัปดาห์เป็นต้นไป7
ผู้ที่มีโรคประจำตัว, และผู้สูงอายุ6

เป็นวัคซีนที่รวม Antigen เข้ากับโมเลกุลของโปรตีน
เพื่อเพิ่มความสามารถในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้สูง3 และอยู่ได้นาน2 สามารถป้องกันโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสชนิดลุกลาม
และไม่ลุกลามได้ดี4, 5 เป็นวัคซีนที่แนะนำให้ใช้ในเด็กทารก
อายุ 6 สัปดาห์เป็นต้นไป7, ผู้ที่มีโรค ประจำตัว, และผู้สูงอายุ6

เป็นวัคซีนที่รวม Antigen เข้ากับโมเลกุลของโปรตีน
เพื่อเพิ่มความสามารถในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้สูง3 และอยู่ได้นาน2
สามารถป้องกันโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสชนิดลุกลาม
และไม่ลุกลามได้ดี4, 5 เป็นวัคซีนที่แนะนำให้ใช้ในเด็กทารก
อายุ 6 สัปดาห์เป็นต้นไป7, ผู้ที่มีโรคประจำตัว, และผู้สูงอายุ6

เป็นวัคซีนที่รวม Antigen เข้ากับโมเลกุลของโปรตีน
เพื่อเพิ่มความสามารถในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้สูง3 และอยู่ได้นาน2 สามารถป้องกันโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสชนิดลุกลาม
และไม่ลุกลามได้ดี4, 5 เป็นวัคซีนที่แนะนำให้ใช้ในเด็กทารก
อายุ 6 สัปดาห์เป็นต้นไป7, ผู้ที่มีโรค ประจำตัว, และผู้สูงอายุ6

1

วัคซีนปอดอักเสบชนิดคอนจูเกต

(Conjugate, PCV)

เป็นวัคซีนที่รวม Antigen เข้ากับโมเลกุล
ของโปรตีน2 เพื่อเพิ่มความสามารถในการกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันได้สูง3 และอยู่ได้นาน2 สามารถป้องกัน
โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสชนิดลุกลามและไม่ลุกลามได้ดี4, 5 เป็นวัคซีนที่แนะนำให้ใช้
ในเด็กทารกอายุ 6 สัปดาห์เป็นต้นไป7
ผู้ที่มีโรคประจำตัว, และผู้สูงอายุ6

เป็นวัคซีนที่รวม Antigen เข้ากับโมเลกุลของโปรตีนเพื่อเพิ่มความสามารถในการกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันได้สูง3 และอยู่ได้นาน2 สามารถป้องกันโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสชนิดลุกลามและไม่ลุกลามได้ดี4, 5 เป็นวัคซีนที่แนะนำให้ใช้
ในเด็กทารกอายุ 6 สัปดาห์เป็นต้นไป7,
ผู้ที่มีโรคประจำตัว, และผู้สูงอายุ6

2

วัคซีนปอดอักเสบ

ชนิดโพลีแซคคาไรด์

(Polysaccharide, PPSV)

เป็นวัคซีนที่นำ Antigen ของเชื้อมากระตุ้น
ภูมิคุ้มกัน2 ระยะเวลาในการป้องกันโรคอยู่ที่
3-5 ปี6 ไม่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันในเด็ก
อายุต่ำกว่า 2 ปีได้6

เป็นวัคซีนที่นำ Antigen ของเชื้อมากระตุ้นภูมิคุ้มกันระยะเวลาในการป้องกันโรคอยู่ที่ 3-5 ปี6 ไม่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปีได้6

2

วัคซีนปอดอักเสบ

ชนิดโพลีแซคคาไรด์

(Polysaccharide, PPSV)

วัคซีนปอดอักเสบชนิดโพลีแซคคาไรด์

 

(Polysaccharide, PPSV)

วัคซีนปอดอักเสบ

ชนิดโพลีแซคคาไรด์

(Polysaccharide, PPSV)

เป็นวัคซีนที่นำ Antigen ของเชื้อมากระตุ้น
ภูมิคุ้มกัน2 ระยะเวลาในการป้องกันโรคอยู่ที่
3-5 ปี6 ไม่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันในเด็ก
อายุต่ำกว่า 2 ปีได้6

เป็นวัคซีนที่นำ Antigen ของเชื้อมากระตุ้นภูมิคุ้มกัน
ระยะเวลาในการป้องกันโรคอยู่ที่ 3-5 ปี6
ไม่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปีได้6

2

วัคซีนปอดอักเสบชนิดโพลีแซคคาไรด์

(Polysaccharide, PPSV)

เป็นวัคซีนที่นำ Antigen ของเชื้อมากระตุ้น
ภูมิคุ้มกัน2 ระยะเวลาในการป้องกันโรคอยู่ที่
3-5 ปี6 ไม่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันในเด็ก
อายุต่ำกว่า 2 ปีได้6

เป็นวัคซีนที่นำ Antigen ของเชื้อมากระตุ้น
ภูมิคุ้มกันระยะเวลาในการป้องกันโรคอยู่ที่
3-5 ปี6 ไม่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปีได้6

ผู้ที่ไม่เคยรับวัคซีนมาก่อนและมีภูมิคุ้มกันปกติ

ฉีดวัคซีนชนิดคอนจูเกต 13 สายพันธุ์6

เว้นระยะห่าง 1 ปี

ฉีดวัคซีนชนิดโพลีแซคคาไรด์ 23 สายพันธุ์6

ผู้ที่ไม่เคยรับวัคซีนมาก่อน
และมีภูมิคุ้มกันปกติ

ฉีดวัคซีนชนิดคอนจูเกต 13 สายพันธุ์6

เว้นระยะห่าง 1 ปี

ฉีดวัคซีนชนิดโพลีแซคคาไรด์ 23 สายพันธุ์6

ผู้ที่ไม่เคยรับวัคซีนมาก่อน
และมีภูมิคุ้มกันปกติ

ฉีดวัคซีนชนิดคอนจูเกต 13 สายพันธุ์6

เว้นระยะห่าง 1 ปี

ฉีดวัคซีนชนิดโพลีแซคคาไรด์ 23 สายพันธุ์6

icon_remain-pink

 สำหรับผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง
มีคำแนะนำการฉีดวัคซีนที่อาจแตกต่างจากคนทั่วไป
ควรปรึกษาแพทย์เพิ่มเติมก่อนรับวัคซีน

 สำหรับผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง มีคำแนะนำการฉีดวัคซีนที่อาจแตกต่างจากคนทั่วไป
ควรปรึกษาแพทย์เพิ่มเติมก่อนรับวัคซีน

 สำหรับผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึึ่งเป็น
กลุ่มเสี่ยงสูง มีคำแนะนำการฉีดวัคซีน
ที่อาจแตกต่างจากคนทั่วไป
ควรปรึกษาแพทย์เพิ่มเติมก่อนรับวัคซีน

 สำหรับผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึึ่งเป็น
กลุ่มเสี่ยงสูง มีคำแนะนำการฉีดวัคซีน
ที่อาจแตกต่างจากคนทั่วไป
ควรปรึกษาแพทย์เพิ่มเติมก่อนรับวัคซีน

วัคซีนอาจมีผลข้างเคียง เช่น ปวด บวม แดง บริเวณที่ฉีด

วัคซีนอาจมีผลข้างเคียง เช่น ปวด บวม แดง บริเวณที่ฉีด

วัคซีนอาจมีผลข้างเคียง
เช่น ปวด บวม แดง บริเวณที่ฉีด

Reference
1. WHO(European Region). Guidance on routine immunization services during COVID-19 pandemic in the WHO European Region, 2020. 2. Pollard AJ, et al. Nat Rev Immunol. 2009;9:213-220 
3. Jackson LA, et al. Vaccine. 2013;31:3577-3584 4. Bonten M.J.M.,et al. N Engl J Med. 2015;372:1114-25 5. McLaughlin JM, et al. Clin Infect Dis. 2018. doi:10.1093/cid/ciy312 6. ตำราวัคซีนและการสร้าง
เสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2562. กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 7. CDC. Pneumococcal vaccine recommendations. Accessed 15 Nov 2021. https://www.cdc.gov/vaccines/vpd/
pneumo/hcp/recommendations.html

Reference

1. WHO(European Region). Guidance on routine immunization services during COVID-19 pandemic in the WHO European Region, 2020. 2. Pollard
AJ, et al. Nat Rev Immunol. 2009;9:213-220 3. Jackson LA, et al. Vaccine. 2013;31:3577-3584 4. Bonten M.J.M.,et al. N Engl J Med.
2015;372:1114-25 5. McLaughlin JM, et al. Clin Infect Dis. 2018. doi:10.1093/cid/ciy312 6. ตำราวัคซีนและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2562. กองโรค
ป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 7. CDC. Pneumococcal vaccine recommendations. Accessed 15 Nov 2021. https://
www.cdc.gov/vaccines/vpd/pneumo/hcp/recommendations.html

Reference

1. WHO(European Region). Guidance on routine immunization services during COVID-19 pandemic in
the WHO European Region, 2020. 2. Pollard AJ, et al. Nat Rev Immunol. 2009;9:213-220 3. Jackson
LA, et al. Vaccine. 2013;31:3577-3584 4. Bonten M.J.M.,et al. N Engl J Med. 2015;372:1114-25
5. McLaughlin JM, et al. Clin Infect Dis. 2018. doi:10.1093/cid/ciy312 6. ตำราวัคซีนและการสร้างเสริม
ภูมิคุ้มกันโรค ปี 2562. กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 7. CDC. Pneumococcal
vaccine recommendations. Accessed 15 Nov 2021. https://www.cdc.gov/vaccines/vpd/pneumo/hcp/
recommendations.html